ข่าว แนวโน้มและนวัตกรรม "โปรตีนทางเลือก" ในตลาดอาเซียน
ปัจจุบันอาหารที่เป็นโปรตีนทางเลือกถูกพัฒนาให้ดูน่ากินมากยิ่งขึ้น โดยมักจะมาในรูปแบบที่มีความใกล้เคียงกับเนื้อสัตว์จริงๆ มากที่สุด สามารถนำไปประกอบอาหารได้แบบเดียวกับเนื้อสัตว์และได้โปรตีนไม่ต่างกัน ทั้งนี้ทั้งนั้น หลายคนก็คิดว่ามันแทนกันไม่ได้อยู่ดี การกินเนื้อสัตว์ปลอมที่ทำจากพืชไม่อาจทำให้การกินเนื้อหมู เนื้อไก่เหมือนการกินเนื้อสัตว์จริงๆ ถึงจะพัฒนาให้เหมือนมาก มันก็ไม่ใช่อยู่ดี และก็แยกออกด้วยว่าไม่ใช่เนื้อสัตว์จริงๆ
เทคโนโลยีแห่ง G สู่ 5G เครือข่ายไร้สาย
“งาดำ” ประโยชน์และโทษ ข้อควรระวังน่ารู้ก่อนกิน
รายงานวิจัยฉบับนี้จัดทำเพื่อเผยแพร่ทั่วไป โดยจัดทำขึ้นจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่น่าเชื่อถือ แต่บริษัทฯ มิอาจรับรองความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือ หรือความสมบูรณ์เพื่อใช้ในทางการค้าหรือประโยชน์อื่นใด บริษัทฯ อาจมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้ตลอดโดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า ทั้งนี้ผู้ใช้ข้อมูลต้องใช้ความระมัดระวังในการใช้ข้อมูลต่างๆ ด้วยวิจารณญาณตนเองและรับผิดชอบในความเสี่ยงเองทั้งสิ้น บริษัทฯ จะไม่รับผิดต่อผู้ใช้หรือบุคคลใดในความเสียหายใดจากการใช้ข้อมูลดังกล่าว ข้อมูลในรายงานฉบับนี้จึงไม่ถือว่าเป็นการให้ความเห็น หรือคำแนะนำในการตัดสินใจทางธุรกิจ แต่อย่างใดทั้งสิ้น
อย่างไรก็ดี ความรู้สึกที่ว่าของที่ทำมาจากการหมักเชื้อราอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ อาจทำให้โปรตีนทดแทนประเภทนี้ยังต้องใช้เวลากว่าที่จะเปลี่ยนความรับรู้และสร้างการยอมรับจากผู้บริโภค
การกินอาหารโปรตีนทางเลือกจากพืช เป็นวิธีที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในบรรดาโปรตีนทางเลือก เนื่องจากดีต่อสุขภาพตรงที่เราเน้นกินผัก ผลไม้ และธัญพืชเป็นหลัก นำไปผ่านกระบวนการแปรรูปให้น้อยที่สุด เพื่อลดการใช้ทรัพยากรพลังงาน แต่ยังคงได้รับสารอาหารครบถ้วนทั้งจากโปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน และแร่ธาตุที่จำเป็นต่อสุขภาพ อย่างไรก็ดี เทรนด์การกินอาหารโปรตีนทางเลือกจากพืช ณ เวลานี้แตกต่างไปเล็กน้อย เพราะมีความพยายามจะทำให้การกินพืชเหล่านั้นเหมือนกับการกินเนื้อสัตว์มากที่สุด
ที่สำคัญคือ “โปรตีนทางเลือก” นอกจากจะเป็นทางเลือกให้แก่ผู้บริโภคแล้ว ยังเป็นการสร้างโอกาสใหม่ทางธุรกิจอีกด้วย
ทำไมเทรนด์โปรตีนทางเลือกถึงมา? รวมข้อดี ข้อเสียและผู้นำในอุตสาหกรรม
• ริมฝั่งเจ้าพระยา โดย สุนันท์ ศรีจันทรา
ความกังวลด้านสิ่งแวดล้อมและจริยธรรม
ของว่างที่ไม่ใช่แท่ง เช่น ธัญพืชผสมผลไม้แห้ง เนื้ออบแห้ง โยเกิร์ต ถั่วเหลืองอ่อน ขนมขบเคี้ยวกรุบกรอบที่ทำมาจากธัญพืช อาทิ ถั่วชิกพี ถั่วเลนทิลหรือแป้งข้าวกล้อง เนยถั่วแบบพกพา และสมูทตี้ เป็นต้น
ในปัจจุบัน มีแหล่งอาหารที่สามารถสร้างโปรตีนทดแทนได้จากหลายแหล่ง โปรตีนทางเลือก เช่น
ขณะที่บริษัทผู้ผลิตอาหารรายใหญ่ของไทยได้เร่งศึกษาและวิจัยพัฒนา และทยอยเปิดตัวสินค้าประเภทนี้ออกมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งคงต้องจับตาดูพัฒนาการของธุรกิจใหม่นี้ที่กำลังจะปฏิวัติอุตสาหกรรมอาหารโลก และสร้างโอกาสใหม่ให้กับธุรกิจการเกษตรและอาหารของไทยที่พร้อมปรับตัว เพื่อก้าวไปให้ทันกับโลกแห่งอนาคตที่กำลังจะมาถึงในไม่ช้านี้
การผลิตโปรตีนทางเลือกใช้น้ำน้อยกว่าการผลิตโปรตีนจากสัตว์มากและมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกน้อยกว่า การเลี้ยงสัตว์เช่นการผลิตเนื้อวัวนั้นถือเป็นการใช้ทรัพยากรที่สูงมากเมื่อเทียบกับการผลิตเนื้อสัตว์จากพืชหรือจากห้องปฏิบัติการ